ค้นหาข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
ค้นหาเพิ่มเติม
หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 6030 หน้า แสดงรายการที่ 21 - 40 จากข้อมูลทั้งหมด 120582 รายการ
ลำดับ | ชื่อเรื่อง | ส่วนราชการ เจ้าของเรื่อง |
วันที่มีมติ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
21 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
22 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (พระราชบัญญัติเครื่องสำอางฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
23 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (พระราชบัญญัติโรคติดต่อฯ/พระราชบัญญัติควบคุมโรคฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
24 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
25 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
26 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (ประมวลกฎหมายยาเสพติด) (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบำบัดรักษาฯ) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
27 | ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ (ประมวลกฎหมายยาเสพติด) (สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา) | สธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ ดังนี้
๑.
เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน ๑๑๑ ฉบับ ออกไปอีก ๑ ปี
ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หรือตั้งแต่วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖ แล้วแต่กรณี ซึ่งออกตามความในกฎหมาย
ดังต่อไปนี้ ๑.๑
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑.๒
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑.๓
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๔
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๕
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑.๖
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๗
พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๘
พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๙
ประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒.
ให้กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให้มีผลใช้บังคับโดยเร็ว
เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
28 | ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558) | มท. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามมาตรา
๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ออกไปอีก ๑ ปี ตั้งแต่วันที่ ๒๗
พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
29 | ขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห่งหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) | มท. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นซอบให้ขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ออกไปอีก ๑ ปี ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
30 | ขอขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ต้องออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527 | ยธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ต้องออกตามความในมาตรา
๓๑ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และมาตรา ๗
แห่งพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๒๗ รวม ๒ ฉบับ ที่เห็นว่า กระทรวงยุติธรรมมีความจำเป็นต้องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองเพียง
๒ ฉบับ (จาก ๑๐ ฉบับ) ได้แก่ ๑)
ประกาศกระทรวงกำหนดการจำแนกประเภทหรือชั้นของเรือนจำ ซึ่งต้องออกตามความในมาตรา ๓๑
แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ๒) กฎกระทรวงกำหนดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการโอนนักโทษ
ซึ่งต้องออกตามความในมาตรา ๗
แห่งพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา
พ.ศ. ๒๕๒๗ ออกไปอีก ๑ ปี ตั้งแต่วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๖
ตามความเห็นของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
31 | ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความในพระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 | พม. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความในพระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
พ.ศ. ๒๕๕๗ ออกไปอีก ๑ ปี
นับแต่วันที่ครบกำหนดตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๖๒ จนถึงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เสนอ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
32 | ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 | ศธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน
พ.ศ. ๒๕๕๐ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ออกไปอีก ๑ ปี ตั้งแต่วันที่ ๒๗
พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
33 | ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (สมรสเท่าเทียม) | ยธ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอว่า โดยที่จะมีการจัดงานมหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ
ไทยแลนด์เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 (Thailand Biennale,
Chiang Rai 2023) ระหว่างวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๖-๓๐ เมษายน ๒๕๖๗
ซึ่งเป็นการจัดแสดงผลงานศิลปะของศิลปินไทยและต่างชาติ ภายใต้แนวคิด : เปิดโลก (The Open World) อันจะเป็นการเปิดมิติทางศิลปะวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเมืองเชียงรายสู่เมืองท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ระดับโลก
จึงขอให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐร่วมเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การจัดงานมหกรรมดังกล่าวให้แพร่หลายและกว้างขวางออกไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ
รวมทั้งเชิญชวนให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมงานดังกล่าว เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวของประเทศต่อไปด้วย
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
34 | การป้องกันและคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | ดศ. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
35 | ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย) | กค. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ ๑. อนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....)
ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร
มีสาระสำคัญเป็นการกำหนดให้เงินได้ของบุคคลธรรมดาที่จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนใน “กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน
(Thailand ESG Fund หรือ TESG)
“ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของเงินได้เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาทสำหรับปีภาษีนั้น
เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
สำหรับเงินได้ที่ได้รับตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงฉบับนี้ถึงวันที่
๓๑ ธันวาคม ๒๕๗๕ และกำหนดให้ผู้มีเงินได้ไม่ต้องนำเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ
ที่ได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่ TESG มารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เฉพาะกรณีที่เงินหรือผลประโยชน์ดังกล่าวคำนวณมาจากเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามที่กล่าวมา
ทั้งนี้ ต้องถือหน่วยลงทุนดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า ๘
ปีนับตั้งแต่วันที่ซื้อหน่วยลงทุน ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ
และให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเป็นเรื่องด่วน
แล้วดำเนินการต่อไปได้
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
36 | การป้องกันและปราบปรามการลักลอบนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ผิดกฎหมาย | นร. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอว่า เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและปราบปรามการลักลอบนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ผิดกฎหมายจากต่างประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลักลอบนำเข้าเนื้อสุกร และชิ้นส่วนอื่น ๆ ผิดกฎหมาย
ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อราคาสุกรในประเทศและทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยไม่สามารถแข่งขันด้านราคาได้
รวมทั้งอาจส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของผู้บริโภคได้เนื่องจากอาจมีโรคระบาดปนเปื้อนมากับเนื้อสุกรและชิ้นส่วนที่ลักลอบนำเข้ามาดังกล่าวได้
ดังนั้น จึงขอให้กระทรวงยุติธรรม (กรมสอบสวนคดีพิเศษ) ร่วมกับกระทรวงการคลัง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดการดำเนินการตามหน้าที่และอำนาจในการตรวจสอบ คัดกรอง
และควบคุมการนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ในทุกช่องทางอย่างเข้มงวดและเคร่งครัด
รวมทั้งให้เร่งรัดการสืบสวน สอบสวน
และจับกุมผู้กระทำผิดในเรื่องนี้ในทุกขั้นตอนให้ครบถ้วนทุกราย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้กระทำผิดรายใหญ่
เพื่อดำเนินคดีตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดและเด็ดขาดต่อไปด้วย
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
37 | การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกทางการค้าโดยใช้ระบบ National Single Window | นร. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอว่า เพื่อเป็นการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศของไทยให้ขยายตัวและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ทั้งในส่วนของการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน
สมควรที่จะต้องปรับปรุงกฎระเบียบและขั้นตอนการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ
ของรัฐให้มีความง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) รวมถึงอำนวยความสะดวกทางการค้าให้เพิ่มมากขึ้นผ่านการใช้ระบบ
National Single Window ซึ่งภาครัฐได้มีการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง
แต่ยังมีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการทางปฏิบัติหลายประการ
จึงขอมอบหมายให้กระทรวงการคลัง (กรมศุลกากร)
เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดการปรับปรุงพัฒนาระบบ
National Single Window รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบ
ขั้นตอนการดำเนินการของหน่วยงานของรัฐ และโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้สามารถให้บริการผ่านระบบ National Single Window ได้อย่างเต็มศักยภาพและเบ็ดเสร็จ
ณ จุดเดียว (One Stop Service) ทั้งนี้
ให้นำกรณีการส่งออกสินค้าผ่านแดน ณ ด่านศุลกากรหนองคาย เป็นโครงการนำร่องเพื่อดำเนินการให้บรรลุผลตามแนวทางข้างต้นโดยเร็วก่อนเป็นลำดับแรก
แล้วจึงให้ขยายผลการดำเนินการไปยังด่านศุลกากรแห่งอื่น ๆ ต่อไป
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
38 | การปรับปรุงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และขั้นตอนการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับนักท่องเที่ยว | นร. | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอว่า เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังประเทศไทยอันจะส่งผลดีต่อภาพลักษณ์และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ
จึงขอมอบหมายให้กระทรวงการคลังร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงคมนาคม
กระทรวงพาณิชย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข
และขั้นตอนต่าง ๆ ในการดำเนินการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT Refund) ของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางออกจากประเทศไทยให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้นด้วย
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
39 | ร่างพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง พ.ศ. .... | นร 05 | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง พ.ศ. .... มีสาระสำคัญให้มีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง
สำหรับปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ตั้งแต่วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๖
ตามที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอ และให้ดำเนินการต่อไปได้
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
40 | ขออนุมัติกรอบการหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง กับหุ้นส่วนการพัฒนา ครั้งที่ 28 | นร.14 | 21/11/2566 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|